สามบูรพาจารย์

แผนยุทธศาสตร์ สขส.

0

ดาวน์โลหดไฟล์(.PDF)

แผนยุทธศาสตร์สำนักงานวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

ประจำปี พ.ศ.  2559 – 2565

วิสัยทัศน์

“สำนักงานวิทยาเขตเป็นหน่วยงานสนับสนุนภารกิจของวิทยาเขตฯ
มีความเชี่ยวชาญ   บริการบนพื้นฐานความถูกต้อง”

พันธกิจ

  1. พัฒนาระบบบริการที่สนับสนุนภารกิจของวิทยาเขต
  2. พัฒนาระบบบริหารจัดการและการบริการตามหลักธรรมาภิบาล
  3. พัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ

เป้าประสงค์

  1. สนับสนุนภารกิจด้านการผลิตบัณฑิตด้านการวิจัย ด้านบริการวิชาการและด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของวิทยาเขตให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายที่กำหนด
  2. มีการบริหารจัดการและการบริการที่มีประสิทธิภาพ ที่มีความถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้
  3. บุคลากร สขส. มีความเชี่ยวชาญด้านบริหารและด้านบริการอย่างมีประสิทธิภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1
มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการบริการที่สนับสนุนภารกิจของวิทยาเขตให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายที่กำหนด

เป้าประสงค์

สนับสนุนภารกิจด้านการผลิตบัณฑิตด้านการวิจัย ด้านบริการวิชาการและด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของวิทยาเขตให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายที่กำหนด

ตัวชี้วัด

  1. จำนวนครั้งในการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
  2. ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่และนำเสนอในระดับนานาชาติ
  3. จำนวนเงินทุนภายใน
  4. จำนวนเงินทุนภายนอก
  5. อัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการบริการวิชาการ
  6. จำนวนรายได้จากโครงการพัฒนาวิชาการ
  7. จำนวนบุคคลากรที่เข้าร่วมโครงการในพระราชดำริ
  8. จำนวนผลงานที่เกิดจากเครือข่ายงานวิจัยและบริการวิชาการ
  9. จำนวนเครือข่ายงานวิจัยและบริการวิชาการระดับอาเซียน
  10. จำนวนนิสิตที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ ระดับชาติ
  11. ร้อยละนิสิตที่ผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษ
  12. จำนวนโครงการส่งเสริมและพัฒนานิสิตให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
  13. ระดับความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้
  14. ระดับความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
  15. ความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการแก่นิสิต
  16. จำนวนโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมเผยแพร่ ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย

กลยุทธ์ :
              1. ส่งเสริม และสนับสนุนการวิจัยและบริการวิชาการ

ตัวชี้วัด

  • จำนวนครั้งในการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
  • ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ เผลแพร่และนำเสนอในระดับนานาชาติ
  • จำนวนเงินทุนภายใน
  • จำนวนเงินทุนภายนอก
  • อัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการบริการวิชาการ
  • จำนวนรายได้จากโครงการพัฒนาวิชาการ

โครงการ

  • โครงการส่งเสริม และสนับสนุนการวิจัยและบริการวิชาการ
  1. พัฒนา และบูรณาการความรู้จากโครงการพระราชดำริ และถ่ายทอดสู่ชุมชน

ตัวชี้วัด

  • จำนวนบุคคลากรที่เข้าร่วมโครงการในพระราชดำริ

โครงการ

  • โครงการพระราชดำริ และถ่ายทอดสู่ชุมชน
  1. แสวงหาเครือข่ายความร่วมมือจากภาคี

ตัวชี้วัด

  • จำนวนผลงานที่เกิดจากเครือข่ายงานวิจัยและบริการวิชาการ
  • จำนวนเครือข่ายงานวิจัยและบริการวิชาการระดับอาเซียน

โครงการ

  • โครงการแสวงหาเครือข่ายความร่วมมือจากภาคี
  1. สร้างโอกาสให้นิสิตให้แสดงความสามารถ และส่งผลงานในเวทีทุกระดับ

ตัวชี้วัด

  • จำนวนนิสิตที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ ระดับชาติ

โครงการ

  • โครงการสร้างโอกาสให้นิสิตให้แสดงความสามารถ และส่งผลงานในเวทีทุกระดับ

 

  1. ส่งเสริมและพัฒนานิสิตให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ตัวชี้วัด

  • ร้อยละนิสิตที่ผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษ
  • จำนวนโครงการส่งเสริมและพัฒนานิสิตให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

โครงการ

  • โครงการส่งเสริมและพัฒนานิสิตให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
  1. ส่งเสริมและสร้างบรรยากาศการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัด

  • ระดับความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้
  • ระดับความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
  • ความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการแก่นิสิต

โครงการ

  • โครงการส่งเสริมและสร้างบรรยากาศการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย
  1. ส่งเสริมเผยแพร่ ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย

ตัวชี้วัด

  • จำนวนโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมเผยแพร่ ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย

โครงการ

  • โครงการส่งเสริมเผยแพร่ ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2
มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการบริหารจัดการและระบบบริการให้มีความถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล

เป้าประสงค์

มีการบริหารจัดการและการบริการที่มีประสิทธิภาพ ที่มีความถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้

ตัวชี้วัด

  1. ระดับความพึงพอใจต่อระบบรวมบริการประสานภารกิจ
  2. ร้อยละของโครงการที่บรรลุผลตามแผนกลยุทธ์
  3. ผลการประเมินการบริหารจัดการและภาวะผู้นำบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล
  4. จำนวนระบบสารสนเทศที่ได้รับการพัฒนา
  5. ระดับความพึงพอใจของระบบสารสนเทศที่ได้รับการพัฒนา
  6. จำนวนองค์ความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติงาน
  7. ร้อยละของการรักษาการให้บริการตามมาตรฐานระยะเวลา
  8. ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ
  9. ระดับความพึงพอใจต่อการตอบสนองของผู้ร้องเรียน
  10. จำนวนโครงการ/กิจกรรม ที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและตอบสนองการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวโครงการ

กลยุทธ์ :

  1. ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล

ตัวชี้วัด

  • ระดับความพึงพอใจต่อระบบรวมบริการประสานภารกิจ
  • ร้อยละของโครงการที่บรรลุผลตามแผนกลยุทธ์
  • ผลการประเมินการบริหารจัดการและภาวะผู้นำบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล

โครงการ

  • โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล
  1. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด

ตัวชี้วัด

  • จำนวนระบบสารสนเทศที่ได้รับการพัฒนา
  • ระดับความพึงพอใจของระบบสารสนเทศที่ได้รับการพัฒนา

โครงการ

  • โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
  1. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้

ตัวชี้วัด

  • จำนวนองค์ความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติงาน

โครงการ

  • โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
  1. ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐาน

ตัวชี้วัด

  • ร้อยละของการรักษาการให้บริการตามมาตรฐานระยะเวลา
  • ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ
  • ระดับความพึงพอใจต่อการตอบสนองของผู้ร้องเรียน

โครงการ

  • ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการให้เป็นไปตามมาตรฐาน
  1. สนับสนุนและสร้างบรรยากาศการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว

ตัวชี้วัด

  • จำนวนโครงการ/กิจกรรม ที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและตอบสนองการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวโครงการ

โครงการ

  • สนับสนุนและสร้างบรรยากาศการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวโครงการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3
มุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญเพื่อตอบสนองการบริหารและบริการที่มีประสิทธิภาพ

เป้าประสงค์

บุคลากร สขส. มีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารและด้านบริการอย่างมีประสิทธิภาพมุ่งเน้นพัฒนา 

ตัวชี้วัด

  1. อัตราการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่เพิ่มขึ้น
  2. ร้อยละบุคคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะ และเส้นทางความก้าวหน้าตามสายอาชีพ
  3. ร้อยละของบุคคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ
  4. ความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการแก่บุคคลากร
  5. อัตราการออกของบุคลากรที่ลดลง
  6. ความพึงพอใจของบุคคลากรที่มีต่อ สขส.
  7. ระดับความผูกพัน / ความสุขของบุคคลากรใน มก.ฉกส. 

กลยุทธ์

  1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรตามสมรรถนะและเส้นทางความก้าวหน้าตามสายอาชีพ

ตัวชี้วัด

  • อัตราการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่เพิ่มขึ้น
  • ร้อยละบุคคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะ และเส้นทางความก้าวหน้าตามสายอาชีพ
  • ร้อยละของบุคคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ

โครงการ

  • พัฒนาศักยภาพบุคลากรตามสมรรถนะและเส้นทางความก้าวหน้าตามสายอาชีพ

      2. ส่งเสริมสวัสดิการและคุณภาพชีวิตของบุคลากร

ตัวชี้วัด

  • ความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการแก่บุคคลากร
  • อัตราการออกของบุคลากรที่ลดลง
  • ความพึงพอใจของบุคคลากรที่มีต่อ สขส.
  • ระดับความผูกพัน / ความสุขของบุคคลากรใน มก.ฉกส.

โครงการ

  • ส่งเสริมสวัสดิการและคุณภาพชีวิตของบุคลากร

เป้าหมายผลผลิตแผนยุทธศาสตร์
สำนักงานวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร (2559-2565)

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการบริการที่สนับสนุนภารกิจของวิทยาเขตให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายที่กำหนด

ตัวบ่งชี้

ค่าเป้าหมาย

ผู้กำกับติดตาม

2559

2560 2561 2562 2563 2564 2565
1.       จำนวนครั้งในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ 1 1 1 1 2 2 ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
2.       ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่และนำเสนอในระดับนานาชาติ 1 1 1 1 1 1 1 ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
3.       จำนวนเงินทุนภายใน 60,000 70,000 80,000 90,000 100,000 110,000 120,000 ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
4.       จำนวนเงินทุนภายนอก 50,000 55,000 60,000 65,000 70,000 75,000 80,000 ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
5.       อัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการบริการวิชาการ 5% 5% 10% 10% 10% 10% 10% ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
6.       จำนวนรายได้จากโครงการพัฒนาวิชาการ 4 ล้าน 4 ล้าน 4 ล้าน 4 ล้าน 4 ล้าน 4 ล้าน 4 ล้าน ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
7.       จำนวนโครงการในพระราชดำริที่นำมาขยายผลใน มก.ฉกส. 1 3 4 5 5 5 5 ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
8.       จำนวนผลงานที่เกิดจากเครือข่ายงานวิจัยและบริการวิชาการ 1 1 1 1 2 2 ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
9.       จำนวนเครือข่ายงานวิจัยและบริการวิชาการระดับอาเซียน 1 1 1 2 2 2 3 ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัย ฯ
10.    จำนวนนิสิตที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ ระดับชาติ 2 2 2 3 3 3 3 ผู้อำนวยการกองบริหารวิชาการและนิสิต
11.    ร้อยละนิสิตที่ผ่านเกณฑ์ภาษาอังกฤษ 65 70 75 80 85 100 ผู้อำนวยการกองบริหารวิชาการและนิสิต
12.    จำนวนโครงการส่งเสริมและพัฒนานิสิตให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 20 20 20 22 22 22 22 ผู้อำนวยการกองบริหารวิชาการและนิสิต
13.    ระดับความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 ผู้อำนวยการกองบริการกลาง
14.    ระดับความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 ผู้อำนวยการกองบริหารวิชาการและนิสิต

ผู้อำนวยการกองบริการกลาง

15.    ความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการแก่นิสิต 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป

ผู้อำนวยการกองบริหารวิชาการและนิสิต

ผู้อำนวยการกองบริการกลาง

16.    จำนวนโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมเผยแพร่ ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย 7 7 7 7 7 7 ผู้อำนวยการกองบริหารวิชาการและนิสิต

ผู้อำนวยการกองบริหารงานทั่วไป

 

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการบริหารจัดการและระบบการบริการให้มีความถูกต้องและมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล

ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย ผู้กำกับติดตาม
2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565  
1.       ระดับความพึงพอใจต่อระบบรวมบริการประสานภารกิจ 3.51 3.75 3.75 3.80 3.80 3.85 3.85 ผู้อำนวยการ 4กอง
2.       ร้อยละของโครงการที่บรรลุผลตามแผนกลยุทธ์ 60 65 70 75 80 85 90 ผู้อำนวยการ 4กอง
3.       ผลการประเมินการบริหารจัดการและภาวะผู้นำบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 ผู้อำนวยการกองบริหารงานทั่วไป
4.       จำนวนระบบสารสนเทศที่ได้รับการพัฒนา 10 15 15 15 15 15 15 ผู้อำนวยการกองบริการกลาง
5.       ระดับความพึงพอใจของระบบสารสนเทศที่ได้รับการพัฒนา 3.51 3.75 3.75 3.80 3.80 3.85 3.85 ผู้อำนวยการกองบริการกลาง
6.       จำนวนองค์ความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติงาน 12 12 12 12 12 12 12 ผู้อำนวยการ 4 กอง
7.       ร้อยละของการรักษาการให้บริการตามมาตรฐานระยะเวลา 80 80 80 80 85 85 85 ผู้อำนวยการ 4 กอง
8.       ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 3.51 3.51 3.51 3.51 3.80 3.80 3.80 ผู้อำนวยการ 4 กอง
9.       ร้อยละการจัดการต่อข้อร้องเรียน 80 80 80 80 85 85 85 ผู้อำนวยการ 4 กอง
10.    จำนวนโครงการ/กิจกรรม ที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและตอบสนองการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวโครงการ 2 2 2 2 2 2 2 ผู้อำนวยการกองบริการกลาง

 

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : มุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญเพื่อตอบสนองการบริหารจัดการและการบริการที่มีประสิทธิภาพ

ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย ผู้กำกับติดตาม
2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
1.         จำนวนบุคลากรที่เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ 8 8 8 8 8 8 8 ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป
2.         ร้อยละบุคคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะ และเส้นทางความก้าวหน้าตามสายอาชีพ 90 90 95 95 100 100 100 ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป
3.         ร้อยละของบุคคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ 10 12 14 16 18 20 22 ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป
4.         ความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการแก่บุคคลากร 3.51 3.51 3.51 3.51 4.00 4.00 4.00 ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป
5.         อัตราการออกของบุคลากรที่ลดลง 2 2 2 2 2 ผู้อำนวยการ 4 กอง
6.         ความพึงพอใจของบุคคลากรที่มีต่อ สขส. 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 ผู้อำนวยการ 4 กอง
7.         ระดับความผูกพัน / ความสุขของบุคคลากรใน มก.ฉกส. 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป

 

 

ภาคผนวก
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis)

จุดแข็ง (S)

  1. บุคลากรมีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการแก้ปัญหาเฉพาะ และเป็นคนรุ่นใหม่ที่พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา
  2. บุคลากรมีความสามัคคีและทำงานเป็นทีม
  3. มีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน
  4. การดำเนินงานภายใต้นโยบายรวมบริการประสานภารกิจทำให้การบริหารงานง่ายขึ้น เนื่องจากเป็นการดำเนินงานให้แล้วเสร็จภายในจุดเดียว

จุดอ่อน (W)

  1. การสื่อสารภายในองค์กรยังไม่ทั่วถึงและขาดการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
  2. ระบบการบริหารงานไม่ชัดเจนทำให้เกิดความล่าช้า
  3. งบประมาณมีไม่เพียงพอ
  4. บุคลากรขาดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  5. อัตรากำลังไม่เหมาะสมกับปริมาณงาน
  6. อุปกรณ์สำนักงานที่จำเป็นเสื่อมสภาพและไม่เพียงพอ
  7. ระบบในการติดตามและประเมินผลงานยังไม่มีประสิทธิภาพและยังไม่เชื่อมโยงกับแรงจูงใจ
  8. ระบบสารสนเทศบางระบบยังขาดการเชื่อมโยงกัน

โอกาส (O)

  1. นโยบายสนับสนุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  2. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทําให้บุคลากรต้องปรับตัว และพัฒนาความรู้/ศักยภาพให้ทันการเปลี่ยนแปลง
  3. นโยบายในการสร้างเครือข่ายและความสัมพันธ์ที่ดีกับหน่วยงานภายนอก
  4. ความมีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  5. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีพ.ศ. 2546 ทําให้ต้องปรับปรุงระบบบริหารงานตามหลัก Good Governance
  6. พรบ.การศึกษาแห่งชาติปี พ.ศ.2542 มาตรา 36 กําหนดให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับ ปริญญาเป็นนิติบุคคล และอาจจัดเป็นส่วนราชการหรือ เป็นหน่วยงานในกํากับของรัฐ ซึ่งเอื้อให้มหาวิทยาลัย สามารถดําเนินกิจการได้โดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบ บริหารและการจัดการที่เป็นของตนเอง มีความคล่องตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง สถานศึกษานั้น ๆ

อุปสรรค (T)

  1. การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองมีผลต่อการได้รัยจัดสรรงบประมาณ
  2. จำนวนนักเรียนที่จะเข้าสู่การศึกษาในระดับอุดมศึกษามีแนวโน้มลดลงมีผลทำให้ต่อจำนวนนิสิตที่จะลดลงตามมา
  3. นโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา
  4. การปฏิรูประบบการเงินอุดมศึกษาและกองทุนเงินให้กู้ยืมที่ผูกติดกับรายได้ในอนาคตมี แนวโน้มที่ อาจทำให้ต้องพึ่งตนเองมากขึ้น
  5. ความไม่แน่นอนของการปรับเปลี่ยนสถานะภาพไปสู่การมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ทำให้มีข้อจำกัดในการบริหารจัดการภายใต้ระบบราชการแบบเดิม
แชร์ :

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า